แบบฝึกหัดบทที่ 4
ข้อ 1 และ ข้อ 2 สื่อกลางประเภทมีสาย และไม่มีสายมีข้อดีข้อเสียอย่างไรบ้างจงเปรียบเทียบ
ตอบ สื่อกลางประเภทมีสาย
เช่น สายโทรศัพท์ เคเบิลใยแก้วนำแสง เป็นต้น สื่อที่จัดอยู่ในการสื่อสารแบบมีสายที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้แก่
- สายทองแดงแบบไม่หุ้มฉนวน (Unshield Twisted Pair)
- สายทองแดงแบบหุ้มฉนวน (Shield Twisted Pair)
- สายโคแอคเชียล (Coaxial)
- ใยแก้วนำแสง (Optic Fiber)
สื่อกลางประเภทไม่มีสาย คือ ระบบไมโครเวฟ ระบบดาวเทียมสื่อสาร
ข้อดีของระบบไร้สาย
1. ไม่ยุ่งยากเรื่องสาย เมื่อต้องการย้ายหรือเปลี่ยนแปลง
ข้อเสียของระบบมีสาย
1. มีความเสี่ยงต่อภัยธรรมชาติ เช่น ฝนตกฟ้าร้อง น้ำท่วม
2. เสียเนื้อที่จัดเก็บสาย (สิ้นเปลืองเงินซื้อสาย)
3. ไม่สะดวกในการเคลื่อนย้าย
ข้อดีของระบบมีสาย
1. มีเถียรภาพมากกว่า เช่น เรื่องความเร็ว
ข้อเสียของระบบไร้สาย
1. ราคาแพง
ข้อ 3 PAN SAN คืออะไรจงอธิบาย SAN คือ ใช้ระบบการเชื่อมต่อและโปรโตคอลที่เรียกว่า Fiber Channel ทำให้สามารถที่ส่งผ่านข้อมูลขนาดใหญ่เป็นบล็อกได้ด้วยความเร็วสูง ทำให้สามารถสำรองข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว และด้วยการใช้ Fiber Channel Switch นี้เอง ทำให้ SAN มีความสามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่าง ๆ ด้วยระยะทางที่ไกลมากขึ้น และเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ได้มากกว่าเดิม
ข้อดีของ SAN
ข้อดีของ SAN คือ การปรับปรุงความสามารถทางด้านความน่าเชื่อถือ และทางด้านการขยายขนาดของข้อมูลขององค์กร การสำรองข้อมูล หรือการกู้คืนข้อมูล SAN นั้นสามารถที่จะสำรองข้อมูลและกู้คืนข้อมูลด้วยเวลาที่รวดเร็ว ซึ่งจะลดความหนาแน่นของข้อมูลภายในเน็ตเวิร์กได้เป็นอย่างดี เป็นการใช้ bandwidth ในระบบ LAN ที่ถูกต้อง อีกทั้ง SAN ยังสามารถทำงานข้ามระบบ MAN (Metropolitan Area Network) และเมื่อใช้งานร่วมกัน จะทำให้สามารถเชื่อมต่อได้ไกลถึง 150 กิโลเมตร มีการแยกอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลออกจากเซิร์ฟเวอร์ ทำให้สามารถเพิ่มจำนวนของอุปกรณ์จัดเก็บได้โดยที่ไม่ต้องปิดระบบ และไม่กระทบกระเทือนต่อการทำงานของเครือข่าย การดูแลรักษาระบบแยกจากกันได้ไม่มีปัญหาข้อจำกัดของ SAN
แม้ว่าระบบ Fiber Channel ที่นำมาใช้บน SAN จะเป็นระบบการส่งถ่ายข้อมูลจากอุปกรณ์จัดเก็บที่มีประสิทธิภาพสูง แต่ SAN ก็มีจุดด้อยเช่นกัน
1. ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับ Total Cost of Ownership (TCO) ของ Fiber Channel คือ มีค่าใช้จ่ายสูงในการดูแลรักษา รวมทั้งการจัดจ้างผู้ชำนาญการในด้านระบบ Fiber Channel ยังทำได้ยาก การดูแลระบบ Fiber Channel จำเป็นต้องมีผู้ชำนาญการ จึงทำให้การติดตั้ง Fiber Channel มีต้นทุนค่าใช้จ่ายสูง แม้ว่าจะเป็นระบบที่มีการบริหารจัดการที่ง่ายก็ตาม
2. ปัญหาเรื่องระยะทางในการปฏิบัติงาน แม้ว่าในทางทฤษฎีแล้ว ระบบ Fiber Channel สามารถมีระยะทางการเชื่อมต่อสื่อสารได้ไกลมากถึง 10 กิโลเมตร การเชื่อมต่อแต่ละจุดที่ใช้สาย Fiber optic แบบ Multimode จะมีข้อจำกัดในเรื่องระยะทางการเชื่อมต่ออยู่ที่ 250 – 500 เมตรเท่านั้น
สรุปลักษณะที่แสดงว่าเป็นระบบ SAN
· อุปกรณ์การจัดเก็บข้อมูลจะอยู่หลังเครื่องเซิร์ฟเวอร์
· อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลที่มีอยู่จะมีการเชื่อมต่อกันเอง ไม่เชื่อมต่อกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์โดยตรง และมีการแยก Hub ออกมาต่างหาก ไม่ใช้ Ethernet Switching Hub
· เซิร์ฟเวอร์ต่าง ๆ มีการเชื่อมต่อกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า Storage Pool
· เซิร์ฟเวอร์ที่นำมาเชื่อมต่อกันบน Hub พิเศษ เช่น Fiber Channel Hub ไม่ถูกจำกัดว่าจะต้องทำงานบนระบบปฏิบัติการอะไร หมายความว่า สามารถใช้ได้กับระบบปฏิบัติการเครือข่ายทุกชนิด
· มีการเชื่อมต่อแบบ Fiber Channel อุปกรณ์เชื่อมต่อ รวมทั้งสายสัญญาณที่ใช้ เชื่อมต่อกันขึ้นเป็นระบบ SAN ประกอบขึ้นด้วย สายใยแก้วนำแสง อุปกรณ์ Fiber Channel Hub รวมทั้ง Fiber Channel Adapter เป็นต้น
· มีเส้นทางการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นระบบ Bus หรือ Star หรือ Ring เป็นต้น
ข้อดีของ SAN คือ การปรับปรุงความสามารถทางด้านความน่าเชื่อถือ และทางด้านการขยายขนาดของข้อมูลขององค์กร การสำรองข้อมูล หรือการกู้คืนข้อมูล SAN นั้นสามารถที่จะสำรองข้อมูลและกู้คืนข้อมูลด้วยเวลาที่รวดเร็ว ซึ่งจะลดความหนาแน่นของข้อมูลภายในเน็ตเวิร์กได้เป็นอย่างดี เป็นการใช้ bandwidth ในระบบ LAN ที่ถูกต้อง อีกทั้ง SAN ยังสามารถทำงานข้ามระบบ MAN (Metropolitan Area Network) และเมื่อใช้งานร่วมกัน จะทำให้สามารถเชื่อมต่อได้ไกลถึง 150 กิโลเมตร มีการแยกอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลออกจากเซิร์ฟเวอร์ ทำให้สามารถเพิ่มจำนวนของอุปกรณ์จัดเก็บได้โดยที่ไม่ต้องปิดระบบ และไม่กระทบกระเทือนต่อการทำงานของเครือข่าย การดูแลรักษาระบบแยกจากกันได้ไม่มีปัญหาข้อจำกัดของ SAN
แม้ว่าระบบ Fiber Channel ที่นำมาใช้บน SAN จะเป็นระบบการส่งถ่ายข้อมูลจากอุปกรณ์จัดเก็บที่มีประสิทธิภาพสูง แต่ SAN ก็มีจุดด้อยเช่นกัน
1. ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับ Total Cost of Ownership (TCO) ของ Fiber Channel คือ มีค่าใช้จ่ายสูงในการดูแลรักษา รวมทั้งการจัดจ้างผู้ชำนาญการในด้านระบบ Fiber Channel ยังทำได้ยาก การดูแลระบบ Fiber Channel จำเป็นต้องมีผู้ชำนาญการ จึงทำให้การติดตั้ง Fiber Channel มีต้นทุนค่าใช้จ่ายสูง แม้ว่าจะเป็นระบบที่มีการบริหารจัดการที่ง่ายก็ตาม
2. ปัญหาเรื่องระยะทางในการปฏิบัติงาน แม้ว่าในทางทฤษฎีแล้ว ระบบ Fiber Channel สามารถมีระยะทางการเชื่อมต่อสื่อสารได้ไกลมากถึง 10 กิโลเมตร การเชื่อมต่อแต่ละจุดที่ใช้สาย Fiber optic แบบ Multimode จะมีข้อจำกัดในเรื่องระยะทางการเชื่อมต่ออยู่ที่ 250 – 500 เมตรเท่านั้น
สรุปลักษณะที่แสดงว่าเป็นระบบ SAN
· อุปกรณ์การจัดเก็บข้อมูลจะอยู่หลังเครื่องเซิร์ฟเวอร์
· อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลที่มีอยู่จะมีการเชื่อมต่อกันเอง ไม่เชื่อมต่อกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์โดยตรง และมีการแยก Hub ออกมาต่างหาก ไม่ใช้ Ethernet Switching Hub
· เซิร์ฟเวอร์ต่าง ๆ มีการเชื่อมต่อกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า Storage Pool
· เซิร์ฟเวอร์ที่นำมาเชื่อมต่อกันบน Hub พิเศษ เช่น Fiber Channel Hub ไม่ถูกจำกัดว่าจะต้องทำงานบนระบบปฏิบัติการอะไร หมายความว่า สามารถใช้ได้กับระบบปฏิบัติการเครือข่ายทุกชนิด
· มีการเชื่อมต่อแบบ Fiber Channel อุปกรณ์เชื่อมต่อ รวมทั้งสายสัญญาณที่ใช้ เชื่อมต่อกันขึ้นเป็นระบบ SAN ประกอบขึ้นด้วย สายใยแก้วนำแสง อุปกรณ์ Fiber Channel Hub รวมทั้ง Fiber Channel Adapter เป็นต้น
· มีเส้นทางการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นระบบ Bus หรือ Star หรือ Ring เป็นต้น
PAN คือ "ระบบการติดต่อสื่อสารไร้สายส่วนบุคคล" ย่อมาจาก Personal Area Network หรือเรียกว่า BluetoothPersonal Area Network (PAN)คือเทคโนโลยีการเข้าถึงไร้สายในพื้นที่เฉพาะส่วนบุคคล โดยมีระยะทางไม่เกิน 1เมตร และมีอัตราการรับส่งข้อมูลความเร็วสูงมาก (สูงถึง 480 Mbps) ซึ่งเทคโนโลยีที่ใช้กันแพร หลาย ก็เช่น• Ultra Wide Band (UWB) ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.3a• Bluetooth ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.1• Zigbee ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.4เทคโนโลยีเหล่านี้ใช้สำหรับการติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง(peripherals) ให้สามารถรับส่งข้อมูลถึงกันได้ และยังใช้สำหรับการรับส่งสัญญาณวิดีโอที่มีความละเอียดภาพสูง (high-definition video signal) ได้ด้วยPersonal Area Network (PAN)ช่วยให้เราสามารถจัดการข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ต่างๆที่เคลื่อนที่ไปมาได้อย่างหลากหลายคิดค้นโดยนักวิจัยของ MIT รวมกับIBM โดยจะสร้างกระแสไฟฟ้าแรงต่ำ (ระดับพิโคแอมป ) ออกไปตามผิวหนังโดยเครื่องรับสัญญาณตามจุดต่างๆ ของร่างกายสามารถรับสัญญาณได้ เทคโนโลยีนี้จะเหมาะกับการใช้งานทางการแพทย์ เพราะอุปกรณ์ โดยมากจะมีการติดตั้งตามลำตัวมนุษย์พัฒนาโดย Bluetooth Special Interest Group (http://www.bluetooth.com/) เริ่มก่อตั้งในปี 1998 ด้วยความร่วมมือกันระหว่าง Ericsson, IBM, Intel, Nokia และ Toshiba ซึ่ง Bluetooth (บลูทูธ) การสื่อสารระยะสั้น (Short-range Transmission) ที่ติดต่อสื่อสารแบบดิจิตอล โดยสามารถส่งและติดต่อข้อมูลแบบ Voice และ Data ระหว่างอุปกรณ์ที่เป็นคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์มือถือต่างๆ (PC, Laptop, PDA, Mobile phone ฯลฯ) โดยการติดต่อสื่อสารสามารถทำได้ทั้งแบบ point-to-point และ Multi-pointข้อดี-ข้อเสียของ Personal Area Network (PAN)ข้อดีคือ1. สะดวกต่อการใช้งาน2. สามารถรับส่งข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว3. มีการรับรองเครือข่าย4. สามารถนำอุปกรณ์ต่างๆมาใช้ร่วมกันได้ข้อเสีย คือ1. สื่อสารได้ไม่เกิน 1 เมตร2. การส่งข้อมูลอาจเกิดข้อผิดพลาดได้3. ติดไวรัสได้ง่าย4. ราคาแพงประโยชน์และการนำมาประยุกต์ใช้จากการที่กลุ่มของเราได้ศึกษาเกี่ยวกับ Personal Area Network (PAN) กลุ่มของเราได้รวบรวมความคิดและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันที่ จะประดิษฐ์ แว่นตาที่สามารถส่งสัญญาณผ่านเครือข่ายได้อย่างรวดเร็ว โดยการประมวลภาพจากสิ่งที่เห็น แล้วแปลงเป็นคลื่นสัญญาณส่งผ่านข้อมูลไปยังเครื่องรับข้อมูลกลาง แล้วเครื่องรับข้อมูลกลางก็จัดส่งข้อมูลไปยังเครื่องรับตัวอื่นๆด้วย
เครือข่ายพื้นที่ส่วนบุคคลบลูทูธ (PAN) เป็นเทคโนโลยีหนึ่งที่ทำให้คุณสามารถสร้างเครือข่าย อีเทอร์เน็ต ด้วยการเชื่อมต่อแบบไร้สายระหว่างคอมพิวเตอร์แบบเคลื่อนที่ โทรศัพท์มือถือ และอุปกรณ์แบบพกพาต่างๆ คุณสามารถเชื่อมต่อกับชนิดของอุปกรณ์ที่รองรับบลูทูธซึ่งใช้กับ PAN ได้ดังต่อไปนี้ อุปกรณ์สำหรับผู้ใช้เครือข่ายพื้นที่ส่วนบุคคล (PANU) อุปกรณ์ที่ให้บริการในเครือข่ายเฉพาะกิจแบบกลุ่ม (GN) หรืออุปกรณ์ในจุดเข้าใช้งานเครือข่าย (NAP)ต่อไปนี้เป็นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการทำงานของอุปกรณ์แต่ละชนิดดังกล่าว
•อุปกรณ์ PANU การเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ PANU ที่รองรับบลูทูธจะสร้าง เครือข่ายเฉพาะกิจ ซึ่งประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ของคุณและอุปกรณ์ดังกล่าว
•อุปกรณ์ GN การเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ GN ที่รองรับบลูทูธจะสร้างเครือข่ายเฉพาะกิจซึ่งประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ของคุณ อุปกรณ์ GN ดังกล่าว และอุปกรณ์ PANU ใดๆ ที่เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ GN เดียวกัน
เครือข่ายพื้นที่ส่วนบุคคลบลูทูธ (PAN) เป็นเทคโนโลยีหนึ่งที่ทำให้คุณสามารถสร้างเครือข่าย อีเทอร์เน็ต ด้วยการเชื่อมต่อแบบไร้สายระหว่างคอมพิวเตอร์แบบเคลื่อนที่ โทรศัพท์มือถือ และอุปกรณ์แบบพกพาต่างๆ คุณสามารถเชื่อมต่อกับชนิดของอุปกรณ์ที่รองรับบลูทูธซึ่งใช้กับ PAN ได้ดังต่อไปนี้ อุปกรณ์สำหรับผู้ใช้เครือข่ายพื้นที่ส่วนบุคคล (PANU) อุปกรณ์ที่ให้บริการในเครือข่ายเฉพาะกิจแบบกลุ่ม (GN) หรืออุปกรณ์ในจุดเข้าใช้งานเครือข่าย (NAP)ต่อไปนี้เป็นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการทำงานของอุปกรณ์แต่ละชนิดดังกล่าว
•อุปกรณ์ PANU การเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ PANU ที่รองรับบลูทูธจะสร้าง เครือข่ายเฉพาะกิจ ซึ่งประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ของคุณและอุปกรณ์ดังกล่าว
•อุปกรณ์ GN การเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ GN ที่รองรับบลูทูธจะสร้างเครือข่ายเฉพาะกิจซึ่งประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ของคุณ อุปกรณ์ GN ดังกล่าว และอุปกรณ์ PANU ใดๆ ที่เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ GN เดียวกัน
1. Blu-ray อ่านว่า บลูเรย์ เป็นเทคโนโลยีสำหรับการบันทึกข้อมูลลงแผ่น Blu-ray disc (BD) ซึ่งมีความจุในการเก็บข้อมูลสูงกว่า DVD หลายเท่า? ถ้าเป็นแบบหน้าเดียว Single-layer จะมีความจุถึง 25 GB ถ้าเป็น Doble-layer ก็มีความจุเป็น 2 เท่านั่นคือ 50 GB เรียกว่าถ้าเก็บไฟล์หนังวีดีโอ คงเก็บได้ทั้งเรื่องรวมทั้งเบื้องหลังการถ่ายทำได้อย่างสบายๆ? แต่วัตถุประสงค์หลักของเทคโนโลยีก็คือ การใช้สำหรับบันทึกไฟล์วีดีโอคุณภาพสูงที่เรียกว่า HD (High Definition)? ซึ่งสามารถเก็บได้ความจุประมาณ 9 ชั่วโมง ! (แบบ double-layer)
2. องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง
ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบสำคัญ ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล บุคลากร และขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง
ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นชุดคำสั่งที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทำงาน
ข้อมูล เป็นส่วนที่จะนำไปจัดเก็บในเครื่องคอมพิวเตอร์
บุคลากรเป็นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน เป็นสิ่งที่จะต้องเข้าใจเพื่อให้ทำงานได้ถูกต้องเป็นระบบ
2. องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์มีอะไรบ้าง
ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบสำคัญ ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล บุคลากร และขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง
ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นชุดคำสั่งที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทำงาน
ข้อมูล เป็นส่วนที่จะนำไปจัดเก็บในเครื่องคอมพิวเตอร์
บุคลากรเป็นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน เป็นสิ่งที่จะต้องเข้าใจเพื่อให้ทำงานได้ถูกต้องเป็นระบบ
3. ฮาร์ดแวร์คือ ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องกราดตรวจเมื่อพิจารณาเครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งเป็น 3 หน่วย คือ
หน่วยรับข้อมูล (input unit) ได้แก่ แผงแป้นอักขระ เมาส์
หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU)
หน่วยแสดงผล (output unit) ได้แก่ จอภาพ เครื่องพิมพ์
การทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เมื่อเปรียบเทียบกับมนุษย์ จะพบว่าคล้ายกัน กล่าวคือ เมื่อมนุษย์ได้รับข้อมูลจากประสาทสัมผัส ก็จะส่งให้สมองในการคิด แล้วสั่งให้มีการโต้ตอบ
4. ซอฟท์แวร์คืออะไร
ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบที่สำคัญประการที่สอง ซึ่งก็คือลำดับขั้นตอนของคำสั่งที่จะสั่งงานให้ฮาร์ดแวร์ทำงาน เพื่อประมวลผลข้อมูลให้ได้ผลลัพธ์ตามความต้องการของการใช้งาน ในปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติงาน ซอฟต์แวร์ควบคุมระบบงาน ซอฟต์แวร์สำเร็จ และซอฟต์แวร์ประยุกต์สำหรับงานต่างๆ ลักษณะการใช้งานของซอฟต์แวร์ก่อนหน้านี้ ผู้ใช้จะต้องติดต่อใช้งานโดยใช้ข้อความเป็นหลัก แต่ในปัจจุบันซอฟต์แวร์มีลักษณะการใช้งานที่ง่ายขึ้น โดยมีรูปแบบการติดต่อที่สื่อความหมายให้เข้าใจง่าย เช่น มีส่วนประสานกราฟิกกับผู้ใช้ที่เรียกว่า กุย (Graphical User Interface : GUI) ส่วนซอฟต์แวร์สำเร็จที่มีใช้ในท้องตลาดทำให้การใช้งานคอมพิวเตอร์ในระดับบุคคลเป็นไปอย่างกว้างขวาง และเริ่มมีลักษณะส่งเสริมการทำงานของกลุ่มมากขึ้น ส่วนงานในระดับองค์กรส่วนใหญ่มักจะมีการพัฒนาระบบตามความต้องการโดยการว่าจ้าง หรือโดยนักคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในฝ่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กร เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคำสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์ แบ่งออกได้หลายประเภท เช่น
1. ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ที่ใช้จัดการกับระบบคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ ที่มีอยู่ในระบบ เช่น ระบบปฏิบัติการวินโดว์ส ระบบปฏิบัติการดอส ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานด้านต่างๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ เช่น ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ซอฟต์แวร์นำเสนอข้อมูล
5. หน้าที่ของอุปกรณ์รับข้อมูลเข้า
คือเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการรับข้อมูลเข้าไปสู่หน่วยประมวลผลกลาง ผู้ใช้สามารถป้อนข้อมูลคำสั่งต่างๆ ผ่านอุปกรณ์ เหล่านี้เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้
6. หน้าที่ของอุปกรณ์ประมวลผล
คือ การประมวลผลของคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นจากการทำงานประสานกันของหน่วยประมวลผลและหน่วยความจำหลักหรือหน่วยความจำภายใน โดยหน่วยประมวลผลจะทำหน้าที่ควบคุมและปฏิบัติการตามขั้นตอนของโปรแกรม ในขณะที่หน่วยความจำจะเป็นที่พักของโปรแกรม ข้อมูลนำเข้า และผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลก่อนนำออกไปแสดงทางอุปกรณ์แสดงผล
7. หน้าที่ของหน่วยความจำ
7. หน้าที่ของหน่วยความจำ
คือ เป็นส่วนที่หน้าที่ในการเก็บคำสั่งและข้อมูล รวมทั้งผลที่ได้จากการประมวลผลจากส่วนคำนวณและเปรียบเทียบ นอกจากนี้ยังทำหน้าที่ในการส่งหริคัดลอก (Copy) ข้อมูลจากหน่วยความจำไปยังหน่วยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องข้อมูล แต่ละข้อมูลจะถูกกำหนดตำแหน่งให้เก็บในหน่วยความจำเพียงตำแหน่งเดียวหน่วยความจำกำหนดเป็นไบต์ (Byte) ซึ่งหมายถึงตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ 1 ตัว ที่กำหนดเป็นรหัสจากบิต (Bit) ตามมาตรฐานการกำหนดรหัส
8. จงบอกถึงหน่วยความจำสำรอง
มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก คือ หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้ แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้ ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง นอกจากนี้ หน่วยความจำรอง สามารถเพิ่มขนาดความจุได้ เนื่องจากหน่วยความจำหลักจะมีขนาดความจุจำกัดหน่วยความจำรอง สามารถเพิ่มขนาดความจุได้
หน่วยประมวลผลจะเรียกใช้ข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำรอง ได้จะช้ากว่า หน่วยความจำหลัก
หน่วยประมวลผลจะเรียกใช้ข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำรอง ได้จะช้ากว่า หน่วยความจำหลัก
9. หน้าที่ของอุปกรณ์แสดงผล คือ
เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับผลจากการประมวลผลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก ออกแสดงตามลักษณะของอุปกรณ์ ซึ่งมีอยู่ไม่กี่ประเภทที่นิยมใช้ คือ จอภาพ เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่สามารถติดต่อกับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ได้ทันทีที่มีการประมวลผลเกิดขึ้น ทำให้ผู้ใช้งานสามารถสั่งให้ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ทันทีจอภาพมีหลายชนิด เช่น แบบโมโนโครม แบบเกร์สเกล และแบบสี เป็นต้น
10. จงบอกถึงอุปกรณ์ในการพิมพ์
เป็นอุปกรณ์แสดงผลออกทางกระดาษ อาจเป็นกระดาษต่อเนื่อง กระดาษพิมพ์ขนาดต่างๆ หรือแบบฟอร์มที่ได้กำหนด เราสามารถแบ่งเครื่องพิมพ์ตามวิธีการพิมพ์ได้ 2 ประเภท ดังนี้
1. เครื่องพิมพ์ประเภทกระทบ
2.เครื่องพิมพ์ชนิดไม่กระทบ
11. หน้าที่ของบุคคลากรคอมพิวเตอร์หมายถึง
ผู้ที่ปฏิบัติงานตามกระบวนวิธีการในกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ ได้แก่
นักวิเคราะห์ระบบและออกแบบระบบงานคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผลนั่นเอง เช่น นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ, เจ้าหน้าที่วิศวกรรมระบบ
,เจ้าหน้าที่จัดการระบบฐานข้อมูล เป็นต้น
นักวิเคราะห์ระบบและออกแบบระบบงานคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผลนั่นเอง เช่น นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ, เจ้าหน้าที่วิศวกรรมระบบ
,เจ้าหน้าที่จัดการระบบฐานข้อมูล เป็นต้น